วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน (Newton’s first law of motion) หรือกฎของความเฉื่อย กล่าวว่า“วัตถุจะรักษาสภาวะอยู่นิ่งหรือสภาวะเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง นอกจากมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ”คือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็ยังคงอยู่นิ่งเหมือนเดิม และถ้าวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ความเร็วอ่านเพิ่มเติม

การหาแรงลัพธ์

การหาแรงลัพธ์ 

เนื่องจากแรงเป็นปริมาณเวคเตอร์ดังนั้นการหาแรงลัพธ์คิดเหมือนกับการหาเวคเตอร์ลัพธ์ โดยแทนแรงด้วยลูกศร ความยาวของลูกศรจะแทนขนาดของแรง และทิศของลูกศรจะแทนทิศทางของแรงที่กระทำ และวัตถุจะเคลื่อนที่ไปตามทิศของแรงลัพธ์ อ่านเพิ่มเติม

ตัวอย่าง
 เมื่อมีแรง A B และ C มากระทำต่อวัตถุ ดังรูป
 
 

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง (Motion under gravity)

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง (Motion under gravity)

               
 เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศสมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่ง ดังนั้น สมการในการคำนวณจึงเหมือนกับสมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a อ่านเพิ่มเติม




ตัวอย่าง 1 ขว้างหินจากชั้น 4 ของตึกขึ้นไปในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 10 m/s ณ จุดที่มีความสูง 14 เมตร จงหาว่าก้อนหินใช้เวลาอยู่ในอากาศนานเท่าใดจึง ตกถึงพื้น และความเร็วขณะถึงพื้นเป็นเท่าใด  


การเคลื่อนที่ในแนวราบ

การเคลื่อนที่แนวราบ

 การคำนวณหาความสัมพันธ์ ระหว่าง ความเร็วต้น (u) ความเร็วปลาย (V) ความเร่ง (a) เวลา (t) การกระจัด (s) เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ อ่านเพิ่มเติม


โจทย์น่าลอง
1. วัตถุกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 40 m/s ไปทางทิศตะวันตก จากนั้นได้รับความเร่ง 10 ไปทางทิศตะวันออกเป็นเวลา 5 วินาที จงหาความเร็วของวัตถุ   
 2.วัตถุมวล 10 kg เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงมีความเร็วต้น 20 m/s มีความเร่ง 5  ถ้าให้เคลื่อนที่เป็นเวลา 20 s จะมีความเร็วเท่าไร          

อัตราเร็ว

อัตราเร็ว (สัญลักษณ์: v)
 คืออัตราของ การเคลื่อนที่ หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งก็ได้ หลายครั้งมักเขียนในรูป ระยะทาง d ที่เคลื่อนที่ไปต่อ หน่วย ของ เวลา อัตราเร็ว เป็นปริมาณสเกลาร์ที่มีมิ อ่านเพิ่มเติม

ความเร่ง

ความเร่ง
ในฟิสิกส์ ความเร่ง (อังกฤษacceleration, สัญลักษณ์: a) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง (หรืออนุพันธ์เวลา) ของความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีหน่วยเป็น ความยาว/เวลา² ในหน่วยเอสไอกำหนดให้หน่วยเป็น เมตร/วินาที²
เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง อ่านเพิ่มเติ่ม

กราฟในวิชาฟิสิกส์

กราฟในวิชาฟิสิกส์


วิชาฟิสิกส์ในปัจจุบันเป็นหลักสูตรใหม่ที่เน้นการทดลอง  และผลการทดลองที่ได้ออกมามักจะเป็นความสัมพันธ์กันเชิงตัวเลข แล้วนำไปเขียนกราฟระบบพิกัดฉาก   แล้าหาสูตรจากกราฟเพื่อสรุปผลการทดลอง   ดังนั้นควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์และแปลความหมายของกราฟ อ่านเพิ่มเติม

เลขนัยสำคัญ (significant figure)

เลขนัยสำคัญ (significant figure) 
คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน (uncertainty) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่เราเลือกใช้ด้วย อ่านเพิ่มเติม

คำอุปสรรค (prefixes)

คำอุปสรรค (prefixes) 
เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ   (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ)  ได้ เช่น ระยะทาง 0.002  เมตร  เขียนเป็น   เมตร แทนด้วยคำอุปสรรค มิลลิ  (m) ดังนั้นระยะทาง 0.002 เมตร  อาจเขียนได้ว่า  มิลลิเมตร  คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณและสัญลักษ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยในระบบ SI

หน่วยฐานเอสไอ  เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก่เมตรสำหรับวัดความยาว 
อ่านเพิ่มเติม